การจัดอันดับโลกทีมชุดใหญ่ หญิง 9 เยอรมนี

สมาคม ดัตซ์เซสเซอร์ วอลเลย์บอล เวอร์แบนด์
สมาพันธ์ ซีอีวี
หัวหน้าโค้ช กิโยวานนี กุยเดจตี
อันดับเอฟไอวีบี 9 (ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557)
กีฬาโอลิมปิก
เข้าแข่งขัน 3 (ครั้งแรกใน 1996)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด อันดับที่ 6 (2000)
ชิงแชมป์โลก
เข้าแข่งขัน 6 (ครั้งแรกใน 1994)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด อันดับที่ 5 (1994)
เว็บไซต์ www.volleyball-verband.de(เยอรมัน)
เครื่องแบบ
Team colours Team colours Team colours
Team colours
เหย้า
Team colours Team colours Team colours
Team colours
เยือน
เหรียญรางวัล
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
ทองแดง ฮ่องกง 2002 ทีม
ทองแดง โตเกียว 2009 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป
ทอง เยอรมนีตะวันตก 1983 ทีม
ทอง เบลเยียม 1987 ทีม
เงิน ฟินแลนด์ 1977 ทีม
เงิน ฝรั่งเศส 1979 ทีม
เงิน เนเธอร์แลนด์ 1985 ทีม
เงิน เยอรมนีตะวันออก 1989 ทีม
เงิน อิตาลี/เซอร์เบีย 2011 ทีม
เงิน เยอรมนี/สวิสเซอร์แลนด์ 2013 ทีม
ทองแดง ยูโกสลาเวีย 1975 ทีม
ทองแดง อิตาลี 1991 ทีม
ทองแดง ตุรกี 2003 ทีม

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนี (เยอรมัน: Deutsche Volleyballnationalmannschaft der Frauen) เป็นทีมวอลเลย์บอลหญิงของประเทศเยอรมนี ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสมาพันธ์ดัตซ์เซสเซอร์ วอลเลย์บอล เวอร์แบนด์ (ดีวีวี) และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ

หนึ่งในความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ของพวกเธอคือการคว้าอันดับที่ 6 ในการแข่งวอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 2011 ที่ประเทศญี่ปุ่น และคว้าเหรียญทองแดงจากการแข่งขัน วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2002 และ 2009

ปัจจุบันเป็นทีมนี้ จัดเป็นทีมอันดับที่ 9 ของโลกโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (FIVB) อย่างไรก็ตาม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2010 วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนี ได้เป็นฝ่ายแพ้ให้กับทีมชาติไทย 3-1 เซต

รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2013-2014 ตำแหน่ง
1 เลนกา เดอร์ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1990 171 280 270 อาเซอร์ไบจาน อิกติซาดชิ บากู ตัวรับอิสระ
2 แคนเทอรีน วิสต์ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1984 171 290 273 อิตาลี วอลเลย์ เบอร์กาโม ตัวเซต
3 เดนิส เฮคส์ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1989 183 284 272 ตุรกี อิกซาซิบาซิ อิสตันบูล ตัวเซต
4 มาเรน บริคส์เกอร์ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1986 184 303 295 โปแลนด์ อิมเปล วอร์ซอว์ ตัวตบหัวเสา
5 แอนจา เบรตส์ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 195 310 295 เยอรมนี ชิคเวอร์ริเนอร์ เอสซี บอลกลาง
6 เคธี รูสซูเวสต์ 2 มีนาคม ค.ศ. 1982 196 319 300 เยอรมนี เอสซี พอร์ตสดัม บอลเร็ว
7 จานา เฟรนซิสกา โพล 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 185 310 290 เยอรมนี ชิคเวอร์ริเนอร์ เอสซี บอลกลาง
8 บริดจ์ คูเฟ่ดิสต์ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 190 311 294 อิตาลี อิโมโค วอลเลย์ คอนเน็กเลียโน บอลเร็ว
9 โครีนา ชูแชตส์ วองต์ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1983 189 310 298 อาเซอร์ไบจาน โลโคโมทีฟ บากู ตัวตบหัวเสา
10 แอนเน่ แมตช์เทสต์ 30 เมษายน ค.ศ. 1985 182 312 295 เยอรมนี เดสซิเนอร์ เอสซี ตัวตบหัวเสา
11 คริสตินส์ เฟิร์สท์ 29 มีนาคม ค.ศ. 1985 192 323 307 ตุรกี วาคีฟแบงก์ อิสตันบูล บอลกลาง
12 ไฮเอค เบียร์ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1983 184 305 293 โปแลนด์ บีเคเอฟ ออลพรอฟ เบลสโคว์ เบียลา ตัวตบหัวเสา
13 ซาซิสกา ฮิปเป 16 มกราคม ค.ศ. 1991 185 315 292 สาธารณรัฐเช็ก วีเค โพรสเตอจ๊อบส์ ตัวตบหัวเสา
14 มากาเรตตา โคเซส Captain sports.svg 30 ตุลาคม ค.ศ. 1986 187 309 297 - ตัวตบหัวเสา
15 ลิซ่า ทอมสัน 20 สิงหาคม ค.ศ. 1985 172 290 285 - ตัวรับอิสระ
16 เลนา มอลเลอว์ 6 มกราคม ค.ศ. 1990 188 312 297 อิตาลี อะจิล โนเวรา บอลกลาง
17 คารินา อเลนบลอกซ์ 22 กันยายน ค.ศ. 1994 190 310 291 เยอรมนี ซิคเวอร์ริเนอร์ เอสซี ตัวตบหัวเสา
18 เลจินา เวอร์ชาตจ์ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1983 186 302 294 เยอรมนี วีซี เวสซบาเดน บอลกลาง
19 สเวนจา อิกเกิลเฮด 20 เมษายน ค.ศ. 1988 182 304 288 เยอรมนี อลิอันซ์ เอ็มทีวี สตุ๊ดการ์ท ตัวตบหัวเสา
20 มารีน อะพิตซ์ 26 มีนาคม ค.ศ. 1987 183 295 284 เยอรมนี เดสซิเนอร์ เอสซี ตัวเซต

รางวัล

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

ชนะเลิศ       รองชนะเลิศ       อันดับที่ 3       อันดับที่ 4

เยอรมนีตะวันออก เยอรมนีตะวันออก
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่
สหภาพโซเวียต 1952 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ฝรั่งเศส 1956 อันดับที่ 7
บราซิล 1960 ไม่ผ่านการคัดเลือก
สหภาพโซเวียต 1962 อันดับที่ 7
ญี่ปุ่น 1967 ไม่ผ่านการคัดเลือก
บัลแกเรีย 1970 อันดับที่ 10
เม็กซิโก 1974 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4
สหภาพโซเวียต 1978 อันดับที่ 8
เปรู 1982 ไม่ผ่านการคัดเลือก
เชโกสโลวาเกีย 1986 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4
ประเทศจีน 1990 อันดับที่ 12
สรุป 2/11 7/11
เยอรมนีตะวันตก เยอรมนีตะวันตก
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่
สหภาพโซเวียต 1952 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ฝรั่งเศส 1956 อันดับที่ 16
บราซิล 1960 อันดับที่ 10
สหภาพโซเวียต 1962 อันดับที่ 13
ญี่ปุ่น 1967 ไม่ผ่านการคัดเลือก
บัลแกเรีย 1970 ไม่ผ่านการคัดเลือก
เม็กซิโก 1974 อันดับที่ 19
สหภาพโซเวียต 1978 อันดับที่ 18
เปรู 1982 อันดับที่ 14
เชโกสโลวาเกีย 1986 อันดับที่ 13
ประเทศจีน 1990 อันดับที่ 13
สรุป 0/11 8/11
เยอรมนี เยอรมนี
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่
บราซิล 1994 อันดับที่ 5
ญี่ปุ่น 1998 อันดับที่ 13
เยอรมนี 2002 อันดับที่ 10
ญี่ปุ่น 2006 อันดับที่ 11
ญี่ปุ่น 2010 อันดับที่ 7
สรุป 2/16 5/16

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

ชนะเลิศ       รองชนะเลิศ       อันดับที่ 3       อันดับที่ 4

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่
ฮ่องกง 1993 อันดับที่ 8
ประเทศจีน 1994 อันดับที่ 10
ประเทศจีน 1995 อันดับที่ 8
ประเทศจีน 1996 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ญี่ปุ่น 1997
ฮ่องกง 1998
ประเทศจีน 1999
ฟิลิปปินส์ 2000
มาเก๊า 2001 อันดับที่ 8
ฮ่องกง 2002 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 3
อิตาลี 2003 อันดับที่ 7
อิตาลี 2004 อันดับที่ 6
ญี่ปุ่น 2005 อันดับที่ 10
อิตาลี 2006 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศจีน 2007
ญี่ปุ่น 2008 อันดับที่ 8
ญี่ปุ่น 2009 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 3
ประเทศจีน 2010 อันดับที่ 9
มาเก๊า 2011 อันดับที่ 13
ประเทศจีน 2012 อันดับที่ 7
ญี่ปุ่น 2013 อันดับที่ 11
สรุป 2/21 14/21

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป

     ชนะเลิศ       รองชนะเลิศ       อันดับที่ 3       อันดับที่ 4

เยอรมนีตะวันออก เยอรมนีตะวันออก
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่
เชโกสโลวาเกีย 1949 ไม่ผ่านการคัดเลือก
บัลแกเรีย 1950
ฝรั่งเศส 1951
โรมาเนีย 1955
เชโกสโลวาเกีย 1958 อันดับที่ 8
โรมาเนีย 1963 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4
ตุรกี 1967 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4
อิตาลี 1971 อันดับที่ 6
ยูโกสลาเวีย 1975 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 3
ฟินแลนด์ 1977 รอบชิงชนะเลิศ รองชนะเลิศ
ฝรั่งเศส 1979 รอบชิงชนะเลิศ รองชนะเลิศ
บัลแกเรีย 1981 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4
เยอรมนีตะวันออก 1983 รอบชิงชนะเลิศ ชนะเลิศ
เนเธอร์แลนด์ 1985 รอบชิงชนะเลิศ รองชนะเลิศ
เบลเยียม 1987 รอบชิงชนะเลิศ ชนะเลิศ
เยอรมนีตะวันตก 1989 รอบชิงชนะเลิศ รองชนะเลิศ
สรุป 2 สมัย 12/16
เยอรมนีตะวันตก เยอรมนีตะวันตก
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่
เชโกสโลวาเกีย 1949 ไม่ผ่านการคัดเลือก
บัลแกเรีย 1950
ฝรั่งเศส 1951
โรมาเนีย 1955
เชโกสโลวาเกีย 1958 อันดับที่ 10
โรมาเนีย 1963 อันดับที่ 11
ตุรกี 1967 อันดับที่ 10
อิตาลี 1971 อันดับที่ 10
ยูโกสลาเวีย 1975 อันดับที่ 10
ฟินแลนด์ 1977 อันดับที่ 8
ฝรั่งเศส 1979 อันดับที่ 9
บัลแกเรีย 1981 อันดับที่ 10
เยอรมนีตะวันออก 1983 อันดับที่ 5
เนเธอร์แลนด์ 1985 อันดับที่ 6
เบลเยียม 1987 อันดับที่ 9
เยอรมนีตะวันตก 1989 อันดับที่ 6
สรุป 0 สมัย 12/16
เยอรมนี เยอรมนี
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่
อิตาลี 1991 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 3
สาธารณรัฐเช็ก 1993 อันดับที่ 5
เนเธอร์แลนด์ 1995 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4
สาธารณรัฐเช็ก 1997 อันดับที่ 9
อิตาลี 1999 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4
บัลแกเรีย 2001 อันดับที่ 9
ตุรกี 2003 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 3
โครเอเชีย 2005 อันดับที่ 11
เบลเยียม/ลักเซมเบิร์ก 2007 อันดับที่ 6
โปแลนด์ 2009 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4
อิตาลี/เซอร์เบีย 2011 รอบชิงชนะเลิศ รองชนะเลิศ
เยอรมนี/สวิตเซอร์แลนด์ 2013 รอบชิงชนะเลิศ รองชนะเลิศ
สรุป 0 สมัย 12/28

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *

Free Web Hosting