การจัดอันดับโลกทีมชุดใหญ่ หญิง 8 เซอร์เบีย

สมาคม สมาพันธ์วอลเลย์บอลแห่งเซอร์เบีย
สมาพันธ์ ซีอีวี
หัวหน้าโค้ช โซรัน เทอซิก
อันดับเอฟไอวีบี 7 (ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557)
กีฬาโอลิมปิก
เข้าแข่งขัน 2 (ครั้งแรกใน 2008)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด อันดับที่ 5 (2008)
ชิงแชมป์โลก
เข้าแข่งขัน 3 (ครั้งแรกใน 1978)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด Med 3.png เหรียญทองแดง (2006)
เว็บไซต์ www.ossrb.org(เซอร์เบีย)
เครื่องแบบ
Team colours Team colours Team colours
Team colours
เหย้า
Team colours Team colours Team colours
Team colours
เยือน
เหรียญรางวัล
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
ทองแดง ญี่ปุ่น 2006 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
ทองแดง มาเก๊า 2011 ทีม
ทองแดง ซัปโปะโระ 2013 ทีม
เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์
ทอง แอลเจอร์ 1975 ทีม
เงิน สปริตท์ 1979 ทีม
ทองแดง คาซาบลังกา 1983 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป
ทอง เซอร์เบีย/อิตาลี 2011 ทีม
เงิน เบลเยียม/ลักเซมเบิร์ก 2007 ทีม
ทองแดง ฝรั่งเศส 1951 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยูโรเปียนคัพ
ทอง เคเซอรี 2009 ทีม
ทอง อังการา 2010 ทีม
ทอง อิสตันบูล 2011 ทีม
ทองแดง คาร์โลวี วารี่ 2012 ทีม

 

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเซอร์เบีย (เซอร์เบีย: Одбојкашка репрезентација Србије) เป็นทีมวอลเลย์บอลหญิงของประเทศเซอร์เบีย ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลแห่งเซอร์เบีย และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ

ทีมนี้ลงแข่งขันในช่วง ค.ศ. 1949 ถึง 1991 ในฐานะ สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย , ค.ศ. 1992 ถึง 2002 ในฐานะ สหภาพรัฐเซอร์เบียและมอนเตเนโกร และใน ค.ศ. 2003 ถึง 2006 ในฐานะ ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

หนึ่งในความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ของพวกเธอคือการคว้าเหรียญทองแดงในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2006 ที่ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 31 ตุลาคม ถึง 16 พฤศจิกายน 2006 โดยในนัดชิงเหรียญทองแดง พวกเธอเป็นฝ่ายเอาชนะอิตาลี ซึ่งเป็นแชมป์เก่า ไป 3-1 เซต และยังคว้าเหรียญทองแดงจากการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2011 และ 2013 ได้สำเร็จ

ปัจจุบันเป็นทีมนี้ จัดเป็นทีมอันดับที่ 7 ของโลกโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (FIVB) อย่างไรก็ตาม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2012 วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเซอร์เบีย ได้เป็นฝ่ายแพ้ให้กับทีมชาติไทย 3-1 เซต และวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกรอบคัดเลือกระดับโลกและโซนเอเชีย 2012 แพ้ให้กับทีมชาติไทย 3-0 เซต

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2013-2014 ตำแหน่ง
2 บาโคเซวิก โจวานา 5 มีนาคม ค.ศ. 1988 196 309 295 ตุรกี วาคีฟแบงก์ อิสตันบูล ตัวตบหัวเสา
4 ซิกคอวิค โบโจนา 29 มีนาคม ค.ศ. 1988 185 292 284 รัสเซีย โอมิสกา โอเอ็มซีเค ตัวเซต
5 เคิร์ชมาโนวิค นาตาซา 16 มิถุนายน ค.ศ. 1985 188 305 285 อาเซอร์ไบจาน ราบิตา บากู บอลเร็ว
6 มาเลเซวิค ทิจานา 18 มีนาคม ค.ศ. 1991 184 289 288 โปแลนด์ พีทีพีเอส พิลา บอลกลาง
7 มอลนา บริซิกา 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1985 182 304 290 ตุรกี กาลาตาซาราย ไดกิน ตัวตบหัวเสา
9 มิฮาจโลวิค แบงค์คิกา 13 เมษายน ค.ศ. 1991 189 282 264 บราซิล ยูนิลิเวอร์ วอเลอิ บอลเร็ว
10 ออนเจนโนวิค มาจา Captain sports.svg 6 สิงหาคม ค.ศ. 1984 183 290 270 โปแลนด์ เอ็มเปล วอลเลย์บอล เอสเอ ตัวเซต
11 เวลคอวิค สเตฟานา 9 มกราคม ค.ศ. 1990 190 320 305 อิตาลี วิลลา คอนเทนต์ บอลเร็ว
12 นิโคลิค เจเลนา 13 เมษายน ค.ศ. 1982 194 315 300 ตุรกี วาคีฟแบงก์ อิสตันบูล ตัวตบหัวเสา
13 เบเจลีกา เอนา 3 เมษายน ค.ศ. 1992 190 310 305 เซอร์เบีย เครเวดา ซเวซดา บีโอเกวส บอลกลาง
14 นินโควิค นาจจา 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1991 193 301 286 สวิตเซอร์แลนด์ โวเลโร เซิร์ท บอลเร็ว
16 ราสิค มิเลนา 25 ตุลาคม ค.ศ. 1990 193 303 293 ฝรั่งเศส อาร์ซี แคนเนส แคนเนส บอลกลาง
18 ซีบิค ซูซานา 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1984 167 279 255 อาเซอร์ไบจาน ราบิตา บากู ตัวรับอิสระ
19 มัจสโตโรวิค เจสนา 23 เมษายน ค.ศ. 1984 181 300 293 โรมาเนีย โทมิส คอนสแตนตา ตัวรับอิสระ

รางวัล

โอลิมปิกฤดูร้อน

  • ประเทศจีน 2008 – อันดับที่ 5
  • สหราชอาณาจักร 2012 – อันดับที่ 11

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกสหภาพโซเวียต 1978 : อันดับที่ 16

  • ญี่ปุ่น 2006 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2010 : อันดับที่ 8

เวิลด์คัพ

  • ญี่ปุ่น 2007 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2011 : อันดับที่ 7

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

  • มาเก๊า 2011 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • ประเทศจีน 2012 : อันดับที่ 11
  • ญี่ปุ่น 2013 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับ 8
  • สหรัฐอเมริกา 2015 :

เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์

  • แอลจีเรีย 1975 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ยูโกสลาเวีย 1979 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • โมร็อกโก 1983 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 1997 : อันดับที่ 4
  • ตูนิเซีย 2001 : อันดับที่ 6

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป

  • ตุรกี 2003 : อันดับที่ 9
  • โครเอเชีย 2005 : อันดับที่ 7
  • เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก 2007 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • โปแลนด์ 2009 : อันดับที่ 7
  • อิตาลี เซอร์เบีย 2011 : Med 1.png เหรียญทอง
  • เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ 2013 : อันดับที่ 4

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยูโรเปียนคัพ

  • ตุรกี 2009 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ตุรกี 2010 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ตุรกี 2011 : Med 1.png เหรียญทอง
  • สาธารณรัฐเช็ก 2012 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • บัลแกเรีย 2013 : อันดับที่ 5

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *

Free Web Hosting