การจัดอันดับโลกทีมชุดใหญ่ หญิง 5 อิตาลี

สมาคม สมาคมวอลเลย์บอลแห่งอิตาลี
หัวหน้าโค้ช มาร์โค เอ็น.เมนกาเรลลี
อันดับเอฟไอวีบี 4 (ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557)
กีฬาโอลิมปิก
เข้าแข่งขัน 4 สมัย (ครั้งแรกใน 2000)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด อันดับ 5 (2004, 2008, 2012)
ชิงแชมป์โลก
เข้าแข่งขัน 10 สมัย (ครั้งแรกใน 1978)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด Gold medal with cup.svg (2002)
เว็บไซต์ www.federvolley.it
เครื่องแบบ
Team colours Team colours Team colours
Team colours
เหย้า
Team colours Team colours Team colours
Team colours
เยือน
เหรียญรางวัล
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
ทอง 2002 เยอรมัน ทีม
เวิลด์คัพ
ทอง 2007 ญี่ปุ่น ทีม
ทอง 2011 ญี่ปุ่น ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
ทอง 2009 โตเกียว/ฟุกุโอกะ ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เงิน 2004 ราจิโอ คาลาเบรีย ทีม
เงิน 2005 เซนได ทีม
ทองแดง 2006 ราจิโอ คาลาเบรีย ทีม
ทองแดง 2007 หนิงโป ทีม
ทองแดง 2008 โยโกฮามา ทีม
ทองแดง 2010 หนิงโป ทีม
เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์
ทอง 1979 สปริท ทีม
ทอง 1983 คาซาบลังกา ทีม
ทอง 1991 เอเธนส์ ทีม
ทอง 1997 บารี ทีม
ทอง 2001 ตูนิส ทีม
ทอง 2009 เปสการา ทีม
เงิน 1975 แอลจีเรีย ทีม
ทองแดง 1987 ลัทธาเกีย ทีม
ทองแดง 2005 อัลเมเรีย ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป
ทอง 2007 เบลเยี่ยม/ลักเซมเบิร์ก ทีม
ทอง 2009 โปแลนด์ ทีม
เงิน 2001 บัลแกเรีย ทีม
เงิน 2005 โครเอเชีย ทีม
ทองแดง 1989 สวีเดน ทีม
ทองแดง 1999 อิตาลี ทีม

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติอิตาลี (อิตาลี: Nazionale di pallavolo femminile dell’Italia) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศอิตาลี ซึ่งปัจจุบันอยู่ในอันดับ 4 ของโลก โดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ และมีหัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบันคือมาร์โค เอ็น.เมนกาเรลลี

หนึ่งในความสำเร็จของทีมวอลเลย์บอลหญิงอิตาลีคือการคว้าแชมป์วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2002 ที่เยอรมัน โดยทีมชาติอิตาลีสามารถเอาชนะทีมชาติสหรัฐอเมริกาในรอบชิงชนะเลิศ และคว้าแชมป์วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพในปี 2007 และปี 2011 ที่ประเทศญี่ปุ่น

ทีมชาติอิตาลีได้รับเลือกให้เข้าแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 จากการเป็นฝ่ายคว้าแชมป์วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 2011 ตั้งแต่วันที่ 4 ถึง 18 พฤศจิกายน ณ ประเทศญี่ปุ่น และที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ทีมดังกล่าวได้อันดับห้าจากการแข่งขัน

และในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2013 ทีมชาติอิตาลีได้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายที่เมืองซัปโปโระ ประเทศญี่ปุ่นและคว้าอันดับ 5 จากการแข่งขันครั้งนี้ไปครอง

รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2013-2014 ตำแหน่ง
1 อินเดร โซไรไคเต 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1988 188 - - อิตาลี ดักซ์ ฟาร์ม ชิเอลี โทริโน ตัวตบหัวเสา
2 คริสตินา บาร์เชลลินี 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1986 183 307 292 อิตาลี อิโมโค วอลเลย์ โคเนกเลียโน ตัวตบหัวเสา
4 เลติเซีย กาเมรา 1 ตุลาคม ค.ศ. 1992 175 285 270 อิตาลี อิโมโค วอลเลย์ โคเนกเลียโน ตัวเซต
6 โมนิกา เด เจนนาโร 8 มกราคม ค.ศ. 1987 174 292 270 อิตาลี โรเบอร์สปอร์ต เปซาโร ตัวรับอิสระ
7 มาร์ตินา กวิจจี Captain sports.svg 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1984 183 315 290 ประเทศจีน กวางตุ้ง เอเวอร์เกรส บอลเร็ว
8 โนเอมิ ซินญอริเล 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 182 284 265 อิตาลี โรเบอร์สปอร์ต เปซาโร ตัวเซต
9 กาเตรินา โบเซตตี 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 179 299 281 อิตาลี เอ็มซี-คานาจี วิลา คอนเตนท์ ตัวตบหัวเสา
10 คริสตินา คิริเคลลา 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 195 314 296 อิตาลี โรเบอร์สปอร์ต เปซาโร บอลกลาง
13 วาเลนตินา อาร์ริเกตตี 26 มกราคม ค.ศ. 1985 185 318 310 อิตาลี ยูเนนโด ยามาเมย์ บัสโต อาซิสิโอ บอลเร็ว
17 วาเลนตินา ดียุฟ 10 มกราคม ค.ศ. 1993 202 320 302 อิตาลี ฟลอปาเปเดตี บากาโม ตัวตบหัวเสา
18 กาโรลินา เดล ปิลาร์ คอสตากรันเต 15 ตุลาคม ค.ศ. 1980 187 320 310 ตุรกี วาคีฟแบงก์ อิสตันบูล ตัวตบหัวเสา
19 ราฟาเอลา โฟลิเอ 7 มีนาคม ค.ศ. 1991 186 307 283 อิตาลี เอ็มซี-คานาจี วิลา คอนเตนท์ บอลเร็ว
20 อเลนเซีย เจนนารี 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1991 184 302 284 อิตาลี ดักซ์ ฟาร์ม ชิเอลี โทริโน ตัวรับอิสระ
21 วาเลนตินา ฟิออริน 9 ตุลาคม ค.ศ. 1984 184 320 310 อิตาลี อิโมโค วอลเลย์ โคเนกเลียโน ตัวตบหัวเสา

รางวัล

โอลิมปิกฤดูร้อน

  • ญี่ปุ่น 1964 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เม็กซิโก 1968 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เยอรมนี 1972 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • แคนาดา 1976 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหภาพโซเวียต 1980 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐอเมริกา 1984 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เกาหลีใต้ 1988 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สเปน 1992 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐอเมริกา 1996 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ออสเตรเลีย 2000 – อันดับที่ 9
  • ประเทศกรีซ 2004 – อันดับที่ 5
  • ประเทศจีน 2008 – อันดับที่ 5
  • สหราชอาณาจักร 2012 – อันดับที่ 5

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

  • ฝรั่งเศส 1956 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 1960 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 1962 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1967 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บัลแกเรีย 1970 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เม็กซิโก 1974 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหภาพโซเวียต 1978 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เปรู 1982 : อันดับที่ 15
  • เชโกสโลวาเกีย 1986 : อันดับที่ 9
  • ประเทศจีน 1990 : อันดับที่ 10
  • บราซิล 1994 : อันดับที่ 14
  • ญี่ปุ่น 1998 : อันดับที่ 5
  • เยอรมนี 2002 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2010 : อันดับที่ 5

เวิลด์คัพ

  • อุรุกวัย 1973 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1977 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1981 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1985 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1989 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1991 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1995 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1999 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2003 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2007 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2011 : Med 1.png เหรียญทอง

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ

  • ญี่ปุ่น 2009 : Med 1.png เหรียญทอง

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

  • ฮ่องกง 1993 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ประเทศจีน 1994 : อันดับที่ 8
  • ประเทศจีน 1995 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ประเทศจีน 1996 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1997 : อันดับที่ 7
  • ฮ่องกง 1998 : อันดับที่ 5
  • ประเทศจีน 1999 : อันดับที่ 4
  • ฟิลิปปินส์ 2000 : อันดับที่ 7
  • มาเก๊า 2001 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฮ่องกง 2002 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2003 : อันดับที่ 5
  • อิตาลี 2004 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 2005 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • อิตาลี 2006 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • ประเทศจีน 2007 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2008 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ประเทศจีน 2010 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • มาเก๊า 2011 : อันดับที่ 7
  • ประเทศจีน 2012 : อันดับที่ 10
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับที่ 5

เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์

  • แอลจีเรีย 1975 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • ยูโกสลาเวีย 1979 : Med 1.png เหรียญทอง
  • โมร็อกโก 1983 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ซีเรีย 1987 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • ประเทศกรีซ 1991 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ฝรั่งเศส 1993 : ไม่ได้เข้าแข่งขัน
  • อิตาลี 1997 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ตูนิเซีย 2001 : Med 1.png เหรียญทอง
  • สเปน 2005 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 2009 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ตุรกี 2013 : Med 1.png เหรียญทอง

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป

  • ฝรั่งเศส 1951 : อันดับที่ 6
  • โรมาเนีย 1955 : ไม่ได้เข้าแข่งขัน
  • สาธารณรัฐเช็ก 1958 : ไม่ได้เข้าแข่งขัน
  • โรมาเนีย 1963 : ไม่ได้เข้าแข่งขัน
  • ตุรกี 1967 : อันดับที่ 11
  • อิตาลี 1971 : อันดับที่ 8
  • ยูโกสลาเวีย 1975 : อันดับที่ 9
  • ฟินแลนด์ 1977 : อันดับที่ 11
  • บัลแกเรีย 1981 : อันดับที่ 8
  • เยอรมนีตะวันออก 1983 : อันดับที่ 7
  • เนเธอร์แลนด์ 1985 : อันดับที่ 5
  • เบลเยียม 1987 : อันดับที่ 6
  • เยอรมนีตะวันตก 1989 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 1991 : อันดับที่ 4
  • สาธารณรัฐเช็ก 1993 : อันดับที่ 4
  • เนเธอร์แลนด์ 1995 : อันดับที่ 6
  • สาธารณรัฐเช็ก 1997 : อันดับที่ 6
  • อิตาลี 1999 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • บัลแกเรีย 2001 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • ตุรกี 2003 : อันดับที่ 6
  • โครเอเชีย 2005 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก 2007 : Med 1.png เหรียญทอง
  • โปแลนด์ 2009 : Med 1.png เหรียญทอง
  • อิตาลี เซอร์เบีย 2011 : อันดับที่ 4
  • เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ 2013 : อันดับที่ 6

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *

Free Web Hosting