การจัดอันดับโลกทีมชุดใหญ่ หญิง 2 บราซิล

สมาคม เซเบเว
สมาพันธ์ ซีเอสวี
ผู้จัดการทีม โชเซ โฮแบร์โต กีมารีส์[1]
อันดับเอฟไอวีบี 1 (ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557)
เว็บไซต์ www.volei.org.br (โปรตุเกส)
เครื่องแบบ
Team colours Team colours Team colours
Team colours
เหย้า
Team colours Team colours Team colours
Team colours
เยือน
เหรียญรางวัล
โอลิมปิกฤดูร้อน
ทอง ปักกิ่ง 2008 ทีม
ทอง ลอนดอน 2012 ทีม
ทองแดง แอตแลนตา 1996 ทีม
ทองแดง ซิดนีย์ 2000 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
เงิน บราซิล 1994 ทีม
เงิน ญี่ปุ่น 2006 ทีม
เงิน ญี่ปุ่น 2010 ทีม
เวิลด์คัพ
เงิน ญี่ปุ่น 1995 ทีม
เงิน ญี่ปุ่น 2003 ทีม
เงิน ญี่ปุ่น 2007 ทีม
ทองแดง ญี่ปุ่น 1999 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
ทอง นะโงะยะ/โตเกียว 2005 ทีม
ทอง นะโงะยะ/โตเกียว 2013 ทีม
เงิน ฟุกุโอะกะ/โตเกียว 2009 ทีม
ทองแดง โอซะกะ/ฮิโรชิมะ/โตเกียว 1997 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
ทอง เซี่ยงไฮ้ 1994 ทีม
ทอง เซี่ยงไฮ้ 1996 ทีม
ทอง ฮ่องกง 1998 ทีม
ทอง ราจิโอ คาลาเบียร์ 2004 ทีม
ทอง เซนได 2005 ทีม
ทอง โยโกฮะมะ 2008 ทีม
ทอง โตเกียว 2009 ทีม
ทอง ซัปโปะโระ 2013 ทีม
เงิน เซี่ยงไฮ้ 1995 ทีม
เงิน ยู่ฉี่ 1999 ทีม
เงิน ราจิโอ คาลาเบียร์ 2006 ทีม
เงิน หนิงโป 2010 ทีม
เงิน มาเก๊า 2011 ทีม
เงิน หนิงโป 2012 ทีม
ทองแดง เกซอน ซิตี้ 2000 ทีม
แพน-อเมริกันเกมส์
ทอง ชิคาโก 1959 ทีม
ทอง เซา เปาโล 1963 ทีม
ทอง วินนิปริงส์ 1999 ทีม
ทอง เปอร์โต วาเลอตา 2011 ทีม
เงิน ฮาวานา 1991 ทีม
เงิน กินาซิโอ 2007 ทีม
ทองแดง เม็กซิโก ซิตี้ 1955 ทีม
ทองแดง คากรอส 1979 ทีม
แพน-อเมริกันคัพ
ทอง ซานจวน 2006 ทีม
ทอง ไมอามี่ 2009 ทีม
ทอง ซิฮัวฮัว 2011 ทีม
เงิน โคลิมา 2007 ทีม
เงิน เม็กซิกาลิ 2008 ทีม
เงิน ซิฮัวฮัว 2012 ทีม
ทองแดง ซันโตโดมิงโก 2005 ทีม
ไฟนอล โฟร์ คัพ
ทอง ฟอตาเลซา 2008 ทีม
ทอง ลิมา 2009 ทีม
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์อเมริกาใต้
ทอง บราซิล 1951 ทีม
ทอง อุรุกวัย 1956 ทีม
ทอง บราซิล 1958 ทีม
ทอง เปรู 1961 ทีม
ทอง ชิลี 1962 ทีม
ทอง เวเนซูเอลา 1969 ทีม
ทอง บราซิล 1981 ทีม
ทอง บราซิล 1991 ทีม
ทอง บราซิล 1995 ทีม
ทอง ลิมา 1997 ทีม
ทอง คาราโบโบ 1999 ทีม
ทอง บัวโนส ไอเรส 2001 ทีม
ทอง โบโกตา 2003 ทีม
ทอง ลาปาส 2005 ทีม
ทอง ซันติอาโก 2007 ทีม
ทอง ปอร์เตอร์ เอเกอร์ 2009 ทีม
ทอง คาลโล 2011 ทีม
ทอง ไอคา 2013 ทีม
เงิน บราซิล 1967 ทีม
เงิน อุรุกวัย 1971 ทีม
เงิน โคลอมเบีย 1973 ทีม
เงิน ปารากวัย 1975 ทีม
เงิน เปรู 1977 ทีม
เงิน อาร์เจนตินา 1979 ทีม
เงิน บราซิล 1983 ทีม
เงิน เวเนซูเอลา 1985 ทีม
เงิน อุรุกวัย 1987 ทีม
เงิน บราซิล 1989 ทีม
เงิน คัสโซ 1993 ทีม

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบราซิล (โปรตุเกส: Seleção Brasileira de Voleibol Feminino) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศบราซิล ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลบราซิล (เซเบเว) และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ เมื่อการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 สิ้นสุดลง ทีมนี้ได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับสองของโลกโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ ทีมนี้ยังเป็นแชมป์ล่าสุดของรายการวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ (โดยครองแชมป์เป็นสมัยที่เก้าในปี ค.ศ. 2013) รวมถึงได้รับรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่กรุงปักกิ่ง และโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ที่กรุงลอนดอนใน ค.ศ. 2013 ทีมชาติบราซิลได้เข้าแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ 2013 ในฐานะแชมป์จากรายการวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์อเมริกาใต้

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2013-2014 ตำแหน่ง
1 ฟาเบียนา คลาวดิโอ Captain sports.svg 24 มกราคม ค.ศ. 1985 193 314 293 ตุรกี เฟแนร์บาห์เช บอลกลาง
2 จูซีลี คริสตินา บาร์เรโต 18 ธันวาคม ค.ศ. 1980 184 312 289 บราซิล ยูนิลิเวอร์ วอเลอิ ตัวตบหัวเสา
3 ดาเนล ลินส์ 5 มกราคม ค.ศ. 1985 181 290 276 บราซิล เซซิ ตัวเซต
5 อเดนทิเซีย ซิลวา 18 ธันวาคม ค.ศ. 1986 185 312 290 บราซิล โมลิโคว์/เนสท์เล่ บอลเร็ว
6 ไทซา เมเนเกวส 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1987 196 316 301 บราซิล โมลิโคว์/เนสท์เล่ บอลเร็ว
7 พิคซิวา ดารอส 10 สิงหาคม ค.ศ. 1988 182 290 280 บราซิล แมคแคนซี ตัวเซต
8 คลาวเดีย ซิลวา 21 กันยายน ค.ศ. 1987 181 290 266 บราซิล ไมนัส เทนิส คลูเบ ตัวตบหัวเสา
9 มิเชล ปาเลา 31 ตุลาคม ค.ศ. 1986 178 295 283 บราซิล บานานา โบสท์/พาเรีย คลูเบ ตัวตบหัวเสา
10 กาพิเอลา บากา กิมาเรส 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1994 176 295 274 บราซิล ยูนิลิเวอร์ วอเลอิ บอลกลาง
11 ทันดาลา คาติสซา 30 ตุลาคม ค.ศ. 1988 184 305 297 บราซิล โมลิโคว์/เนสท์เล่ ตัวตบหัวเสา
12 นาตาเลีย เปลิเวลา 4 เมษายน ค.ศ. 1989 183 300 288 บราซิล วอเลอิ เอมิลล์ ตัวตบหัวเสา
13 เชลลา คาสโตว์ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1983 185 302 284 บราซิล โมลิโคว์/เนสท์เล่ ตัวตบหัวเสา
14 ฟาเบียนา โอลิเวลา 7 มีนาคม ค.ศ. 1980 169 276 266 บราซิล ยูนิลิเวอร์ วอเลอิ ตัวรับอิสระ
15 โมนิคิว มารินโฮ ปาเลา 31 ตุลาคม ค.ศ. 1986 178 294 285 บราซิล บานานา โบสท์/พาเรีย คลูเบ บอลกลาง
16 เฟอร์นันด้า โรดิเกวส 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1986 179 308 288 ตุรกี เฟแนร์บาห์เช ตัวตบหัวเสา
18 กามีลา ไบรต์ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1988 170 271 256 บราซิล โมลิโคว์/เนสท์เล่ ตัวรับอิสระ

รางวัล

โอลิมปิกฤดูร้อน

การแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่ แข่ง ชนะ แพ้
ญี่ปุ่น 1964 ไม่ผ่านการคัดเลือก
เม็กซิโก 1968
เยอรมนี 1972
แคนาดา 1976
สหภาพโซเวียต 1980 รอบก่อนรองชนะเลิศ อันดับที่ 7 5 1 4
สหรัฐอเมริกา 1984 รอบก่อนรองชนะเลิศ อันดับที่ 7 5 1 4
เกาหลีใต้ 1988 รอบก่อนรองชนะเลิศ อันดับที่ 6 5 1 4
สเปน 1992 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 6 3 3
สหรัฐอเมริกา 1996 รอบรองชนะเลิศ เหรียญทองแดง 8 7 1
ออสเตรเลีย 2000 รอบรองชนะเลิศ เหรียญทองแดง 8 7 1
ประเทศกรีซ 2004 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 8 6 2
ประเทศจีน 2008 รอบชิงชนะเลิศ เหรียญทอง 8 8 0
สหราชอาณาจักร 2012 รอบชิงชนะเลิศ เหรียญทอง 8 6 2
บราซิล 2016 ผ่านการคัดเลือกในฐานะเจ้าภาพ
สรุป 2 ครั้ง 9/13 61 40 21

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

ปี อันดับที่ แข่ง ชนะ แพ้
สหภาพโซเวียต 1952 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ฝรั่งเศส 1956 อันดับที่ 11 8 6 2
บราซิล 1960 อันดับที่ 5 6 2 4
สหภาพโซเวียต 1962 อันดับที่ 8 8 1 7
ญี่ปุ่น 1967 ไม่ผ่านการคัดเลือก
บัลแกเรีย 1970 อันดับที่ 13 9 4 5
เม็กซิโก 1974 อันดับที่ 15 11 7 4
สหภาพโซเวียต 1978 อันดับที่ 7 9 5 4
เปรู 1982 อันดับที่ 8 9 4 5
เชโกสโลวาเกีย 1986 อันดับที่ 5 8 5 3
ประเทศจีน 1990 อันดับที่ 7 7 4 3
บราซิล 1994 เหรียญเงิน 7 6 1
ญี่ปุ่น 1998 อันดับที่ 4 8 5 3
เยอรมนี 2002 อันดับที่ 7 11 7 4
ญี่ปุ่น 2006 เหรียญเงิน 11 10 1
ญี่ปุ่น 2010 เหรียญเงิน 11 10 1
อิตาลี 2014 ผ่านการคัดเลือกแล้ว
สรุป 14/16 123 76 47

เวิลด์คัพ

ปี อันดับที่ แข่ง ชนะ แพ้
อุรุกวัย 1973 อันดับที่ 9 5 1 4
ญี่ปุ่น 1977 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ญี่ปุ่น 1981 อันดับที่ 8 7 0 7
ญี่ปุ่น 1985 อันดับที่ 6 7 2 5
ญี่ปุ่น 1989 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ญี่ปุ่น 1991 อันดับที่ 8 5 2 3
ญี่ปุ่น 1995 เหรียญเงิน 11 10 1
ญี่ปุ่น 1999 เหรียญทองแดง 11 9 2
ญี่ปุ่น 2003 เหรียญเงิน 11 10 1
ญี่ปุ่น 2007 เหรียญเงิน 11 9 2
ญี่ปุ่น 2011 อันดับที่ 5 11 8 3
สรุป 9/11 79 51 28

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ

ปี ตำแหน่ง แข่ง ชนะ แพ้
ญี่ปุ่น 1993 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ญี่ปุ่น 1997 เหรียญทองแดง 5 3 2
ญี่ปุ่น 2001 อันดับที่ 4 5 2 3
ญี่ปุ่น 2005 เหรียญทอง 5 5 0
ญี่ปุ่น 2009 เหรียญเงิน 5 4 1
ญี่ปุ่น 2013 เหรียญทอง 5 5 0
สรุป 5/6 25 19 6

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

ปี อันดับที่
ฮ่องกง 1993 อันดับที่ 4
ประเทศจีน 1994 เหรียญทอง
ประเทศจีน 1995 เหรียญเงิน
ประเทศจีน 1996 เหรียญทอง
ญี่ปุ่น 1997 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ฮ่องกง 1998 เหรียญทอง
ประเทศจีน 1999 เหรียญเงิน
ฟิลิปปินส์ 2000 เหรียญทองแดง
มาเก๊า 2001 อันดับที่ 5
ฮ่องกง 2002 อันดับที่ 4
อิตาลี 2003 อันดับที่ 8
ปี อันดับที่
อิตาลี 2004 เหรียญทอง
ญี่ปุ่น 2005 เหรียญทอง
อิตาลี 2006 เหรียญทอง
ประเทศจีน 2007 อันดับที่ 5
ญี่ปุ่น 2008 เหรียญทอง
ญี่ปุ่น 2009 เหรียญทอง
ประเทศจีน 2010 เหรียญเงิน
มาเก๊า 2011 เหรียญเงิน
ประเทศจีน 2012 เหรียญเงิน
ญี่ปุ่น 2013 เหรียญทอง
ญี่ปุ่น 2014 เหรียญทอง
สหรัฐอเมริกา 2015
สรุป 20/21

แพน-อเมริกันเกมส์

ปี อันดับที่
เม็กซิโก 1955 เหรียญทองแดง
สหรัฐอเมริกา 1959 เหรียญทอง
บราซิล 1963 เหรียญทอง
แคนาดา 1967 อันดับที่ 4
โคลอมเบีย 1971 อันดับที่ 4
เม็กซิโก 1975 อันดับที่ 5
เปอร์โตริโก 1979 เหรียญทองแดง
เวเนซุเอลา 1983 อันดับที่ 4
สหรัฐอเมริกา 1987 อันดับที่ 4
คิวบา 1991 เหรียญเงิน
อาร์เจนตินา 1995 อันดับที่ 6
แคนาดา 1999 เหรียญทอง
สาธารณรัฐโดมินิกัน 2003 อันดับที่ 4
บราซิล 2007 เหรียญเงิน
เม็กซิโก 2011 เหรียญทอง
แคนาดา 2015 ผ่านการคัดเลือกแล้ว
Total 15/15

แพน-อเมริกันคัพ

ปี อันดับที่
เม็กซิโก 2002 ไม่ผ่านการคัดเลือก
เม็กซิโก 2003 อันดับที่ 4
เม็กซิโก 2004 อันดับที่ 4
สาธารณรัฐโดมินิกัน 2005 เหรียญทองแดง
เปอร์โตริโก 2006 เหรียญทอง
เม็กซิโก 2007 เหรียญเงิน
เม็กซิโก 2008 เหรียญเงิน
สหรัฐอเมริกา 2009 เหรียญทอง
เม็กซิโก 2010 อันดับที่ 8
เม็กซิโก 2011 เหรียญทอง
ปี อันดับที่
เม็กซิโก 2012 เหรียญเงิน
เปรู 2013 อันดับที่ 4
สรุป 11/12

ไฟนอล โฟร์ คัพ

ปี อันดับ
บราซิล 2008 เหรียญทอง
เปรู 2009 เหรียญทอง
เม็กซิโก 2010 ไม่ผ่านการคัดเลือก
สรุป 2/3

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์อเมริกาใต้

Year Position
บราซิล 1951 เหรียญทอง
อุรุกวัย 1956 เหรียญทอง
บราซิล 1958 เหรียญทอง
เปรู 1961 เหรียญทอง
ชิลี 1962 เหรียญทอง
อาร์เจนตินา 1964 ไม่ผ่านการคัดเลือก
บราซิล 1967 เหรียญเงิน
เวเนซุเอลา 1969 เหรียญทอง
อุรุกวัย 1971 เหรียญเงิน
โคลอมเบีย 1973 เหรียญเงิน
ปารากวัย 1975 เหรียญเงิน
เปรู 1977 เหรียญเงิน
อาร์เจนตินา 1979 เหรียญเงิน
บราซิล 1981 เหรียญทอง
บราซิล 1983 เหรียญเงิน
ปี อันดับที่
เวเนซุเอลา 1985 เหรียญเงิน
อุรุกวัย 1987 เหรียญเงิน
บราซิล 1989 เหรียญเงิน
บราซิล 1991 เหรียญทอง
เปรู 1993 เหรียญเงิน
บราซิล 1995 เหรียญทอง
เปรู 1997 เหรียญทอง
เวเนซุเอลา 1999 เหรียญทอง
อาร์เจนตินา 2001 เหรียญทอง
โคลอมเบีย 2003 เหรียญทอง
โบลิเวีย 2005 เหรียญทอง
ชิลี 2007 เหรียญทอง
บราซิล 2009 เหรียญทอง
เปรู 2011 เหรียญทอง
เปรู 2013 เหรียญทอง
สรุป 29/30

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *

Free Web Hosting