การจัดอันดับโลกทีมชาย ชุดใหญ่ 16 เกาหลีใต้

สมาคม สมาคมวอลเลย์บอลเกาหลี
สมาพันธ์ เอวีซี
หัวหน้าโค้ช ปาร์ค กี-วอน
อันดับเอฟไอวีบี 19 (ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557)
กีฬาโอลิมปิก
เข้าแข่งขัน 8 (ครั้งแรกใน 1964)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด อันดับที่ 5 (1984)
ชิงแชมป์โลก
เข้าแข่งขัน 8 (ครั้งแรกใน 1956)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด อันดับที่ 4 (1978)
เวิลด์คัพ
เข้าแข่งขัน 8 (ครั้งแรกใน 1977)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด อันดับที่ 5 (1991)
เว็บไซต์ www.kva.or.kr
เครื่องแบบ
Team colours Team colours Team colours
Team colours
เหย้า
Team colours Team colours Team colours
Team colours
เยือน
เหรียญรางวัล
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย
ทอง 1989 โซล ทีม
ทอง 1993 นครราชสีมา ทีม
ทอง 2001 ชางวอน ทีม
ทอง 2003 เทียนจิน ทีม
เงิน 1975 เมลเบิร์น ทีม
เงิน 1979 มานามา ทีม
เงิน 1991 เพิร์ท ทีม
เงิน 2013 ดูไบ ทีม
ทองแดง 1983 โตเกียว ทีม
ทองแดง 1987 คูเวต ทีม
ทองแดง 1995 โซล ทีม
ทองแดง 1999 เตหะราน ทีม
ทองแดง 2005 สุพรรณบุรี ทีม
ทองแดง 2007 จาการ์ตา ทีม
ทองแดง 2009 มะนิลา ทีม
ทองแดง 2011 เตหะราน ทีม
เอเชียนเกมส์
ทอง 1978 กรุงเทพฯ ทีม
ทอง 2002 ปูซาน ทีม
ทอง 2006 โดฮา ทีม
เงิน 1966 กรุงเทพฯ ทีม
เงิน 1970 กรุงเทพฯ ทีม
เงิน 1974 เตหะราน ทีม
เงิน 1986 โซล ทีม
เงิน 1990 ปักกิ่ง ทีม
เงิน 1998 กรุงเทพฯ ทีม
ทองแดง 1982 นิวเดลี ทีม
ทองแดง 1994 ฮิโรชิมา ทีม
ทองแดง 2010 กวางโจว ทีม
วอลเลย์บอลเอเชียนคัพ
ทอง 2014 อัลมาตี ทีม
เงิน 2008 นครราชสีมา ทีม

วอลเลย์บอลชายทีมชาติเกาหลีใต้ (เกาหลี: 대한민국 배구 국가대표팀) เป็นตัวแทนของประเทศเกาหลีใต้ในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร ทีมนี้เป็นที่ดีที่สุดโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 ที่ ลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา

รางวัล

โอลิมปิกฤดูร้อน

  • ญี่ปุ่น 1964 — อันดับที่ 10
  • เม็กซิโก 1968 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เยอรมนีตะวันตก 1972 — อันดับที่ 7
  • แคนาดา 1976 — อันดับที่ 6
  • สหภาพโซเวียต 1980 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐอเมริกา 1984 — อันดับที่ 5
  • เกาหลีใต้ 1988 — อันดับที่ 11
  • สเปน 1992 — อันดับที่ 9
  • สหรัฐอเมริกา 1996 — อันดับที่ 9
  • ออสเตรเลีย 2000 — อันดับที่ 9
  • ประเทศกรีซ 2004 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ประเทศจีน 2008 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหราชอาณาจักร 2012 — ไม่ผ่านการคัดเลือก

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

  • เชโกสโลวาเกีย 1949 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหภาพโซเวียต 1952 —ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฝรั่งเศส 1956 — อันดับที่ 18
  • บราซิล 1960 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหภาพโซเวียต 1962 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เชโกสโลวาเกีย 1966 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บัลแกเรีย 1970 — ผ่านการคัดเลือกแต่ขอถอนตัว
  • เม็กซิโก 1974 — อันดับที่ 13
  • อิตาลี 1978 — อันดับที่ 4
  • อาร์เจนตินา 1982 — อันดับที่ 8
  • ฝรั่งเศส 1986 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 1990 — อันดับที่ 14
  • ประเทศกรีซ 1994 — อันดับที่ 8
  • ญี่ปุ่น 1998 — อันดับที่ 13
  • อาร์เจนตินา 2002 — ผ่านการคัดเลือกแต่ขอถอนตัว
  • ญี่ปุ่น 2006 — อันดับที่ 13
  • อิตาลี 2010 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • โปแลนด์ 2014 — อันดับที่ 17

เวิลด์คัพ

  • โปแลนด์ 1965 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เยอรมนีตะวันออก 1969 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1977 — อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 1981 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1985 — อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 1989 — อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 1991 — อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1995 — อันดับที่ 8
  • ญี่ปุ่น 1999 — อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2003 — อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2007 — อันดับที่ 11
  • ญี่ปุ่น 2011 — ไม่ผ่านการคัดเลือก

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ

  • ญี่ปุ่น 1993 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 1997 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2001 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2005 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2013 : ไม่ผ่านการคัดเลือก

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก

  • ญี่ปุ่น 1990 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 1991 — อันดับที่ 9
  • อิตาลี 1992 — อันดับที่ 8
  • บราซิล 1993 — อันดับที่ 10
  • อิตาลี 1994 — อันดับที่ 9
  • บราซิล 1995 — อันดับที่ 6
  • เนเธอร์แลนด์ 1996 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • รัสเซีย 1997 — อันดับที่ 11
  • อิตาลี 1998 — อันดับที่ 11
  • อาร์เจนตินา 1999 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เนเธอร์แลนด์ 2000 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • โปแลนด์ 2001 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 2002 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สเปน 2003 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2004 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เซอร์เบียและมอนเตเนโกร 2005 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • รัสเซีย 2006 — อันดับที่ 10
  • โปแลนด์ 2007 — อันดับที่ 9
  • บราซิล 2008 — อันดับที่ 13
  • เซอร์เบีย 2009 — อันดับที่ 14
  • อาร์เจนตินา 2010 — อันดับที่ 16
  • โปแลนด์ 2011 — อันดับที่ 13
  • บัลแกเรีย 2012 — อันดับที่ 14
  • อาร์เจนตินา 2013 — อันดับที่ 15
  • อิตาลี 2014 — อันดับที่ 19

วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย

  • ออสเตรเลีย 1975Silver medal asia.svg รองชนะเลิศ
  • บาห์เรน 1979Silver medal asia.svg รองชนะเลิศ
  • ญี่ปุ่น 1983Bronze medal asia.svg อันดับที่ 3
  • คูเวต 1987Bronze medal asia.svg อันดับที่ 3
  • เกาหลีใต้ 1989Gold medal asia.svg ชนะเลิศ
  • ออสเตรเลีย 1991Silver medal asia.svg รองชนะเลิศ
  • ไทย 1993Gold medal asia.svg ชนะเลิศ
  • เกาหลีใต้ 1995Bronze medal asia.svg อันดับที่ 3
  • ประเทศกาตาร์ 1997 — อันดับที่ 5
  • อิหร่าน 1999Bronze medal asia.svg อันดับที่ 3
  • เกาหลีใต้ 2001Gold medal asia.svg ชนะเลิศ
  • ประเทศจีน 2003Gold medal asia.svg ชนะเลิศ
  • ไทย 2005Bronze medal asia.svg อันดับที่ 3
  • อินโดนีเซีย 2007Bronze medal asia.svg อันดับที่ 3
  • ฟิลิปปินส์ 2009Bronze medal asia.svg อันดับที่ 3
  • อิหร่าน 2011Bronze medal asia.svg อันดับที่ 3
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2013Silver medal asia.svg รองชนะเลิศ

เอเชียนเกมส์

  • ญี่ปุ่น 1958 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อินโดนีเซีย 1962 — อันดับที่ 4
  • ไทย 1966Silver medal asia.svg รองชนะเลิศ
  • ไทย 1970Silver medal asia.svg รองชนะเลิศ
  • อิหร่าน 1974Silver medal asia.svg รองชนะเลิศ
  • ไทย 1978Gold medal asia.svg ชนะเลิศ
  • อินเดีย 1982Bronze medal asia.svg อันดับที่ 3
  • เกาหลีใต้ 1986Silver medal asia.svg รองชนะเลิศ
  • ประเทศจีน 1990Silver medal asia.svg รองชนะเลิศ
  • ญี่ปุ่น 1994Bronze medal asia.svg อันดับที่ 3
  • ไทย 1998Silver medal asia.svg รองชนะเลิศ
  • เกาหลีใต้ 2002Gold medal asia.svg ชนะเลิศ
  • ประเทศกาตาร์ 2006Gold medal asia.svg ชนะเลิศ
  • ประเทศจีน 2010Bronze medal asia.svg อันดับที่ 3
  • เกาหลีใต้ 2014

วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียนคัพ

  • ไทย 2008Silver medal asia.svg รองชนะเลิศ
  • อิหร่าน 2010 — อันดับที่ 6
  • เวียดนาม 2012 — อันดับที่ 5
  • คาซัคสถาน 2014Gold medal asia.svg ชนะเลิศ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *

Free Web Hosting